วันอาทิตย์ที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2555

สมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป EFTA


สมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป
The European Free Trade Association : EFTA       

ประวัติการก่อตั้ง
                    สมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป ก่อตั้งเมื่อเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2502 เนื่องจากความไม่พอใจของกลุ่มประเทศในองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจของยุโรป (Organization for European Economic Co-operation : OEEC) ที่มีต่อองค์การตลาดร่วมยุโรป (EEC) จึงแยกตัวออกมาตั้งกลุ่มการค้าใหม่ พ.ศ. 2501 เรียกว่า กลุ่มอีอีซี มีสมาชิก 7 ประเทศ คือ ออสเตรีย นอร์เว สวีเดน เดนมาร์ก สวิตเซอร์แลนด์ โปรตุเกส และสหราชอาณาจักร (เรียกว่า กลุ่ม 7 นอก) ได้ตั้งชื่อกลุ่มว่า เอฟตา และมีการประชุมครั้งแรกที่กรุงสตอกโฮม ประเทศสวีเดน ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2502 มีการลงนามในสัญญาความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิก และเริ่มดำเนินงานในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2503 ต่อมามีประเทศต่างๆ เข้าร่วมเป็นสมาชิกและถอนตัวออกจากการเป็นสมาชิก คือ พ.ศ.2504 และ 2513 มีประเทศฟินแลนด์ และไอซ์แลนด์ สมัครเข้าเป็นสมาชิกตามลำดับ ส่วนประเทศเดนมาร์ก สหราชอาณาจักร ขอถอนตัวออกจากเอฟตา พ.ศ.2517 และโปรตุเกสขอถอนตัว พ.ศ. 2529 เพื่อไปร่วมเป็นสมาชิกของอีอีซี
                    ปัจจุบัน เอฟตา มีประเทศสมาชิรวม 6 ประเทศ คือ ออสเตรีย นอร์เว สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ ลิกเตนสไตน์ ฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์
วัตถุประสงค์ในการก่อตั้ง
                    1. เพื่อปฏิรูประบบการค้าของสินค้าอุตสาหกรรมภายกลุ่มประเทศสมาชิก
                    2. เพื่อกำหนดนโยบายการค้าของประเทศสมาชิกและประเทศนอกกลุ่มสมาชิก
ผลการปฏิบัติงาน
                    จากการประชุมครั้งแรกที่กรุงสตอกโฮม ได้กำหนดข้อตกลงเกี่ยวกับการลดอัตราภาษีศุลกากรของรายการสินค้าอุตสาหกรรมของประเทศสมาชิก และยังได้กำหนดระบบการค้าเสรีเกี่ยวกับผลิตผลทางเกษตรอีกด้วย นอกจากนี้ยังได้กำหนดมาตรการการป้องกันสินค้าจากประเทศนอกกลุ่มสมาชิกที่จะนำเข้ามาขายในราคาถูกกว่าสินค้าของประเทศสมาชิก โดยการจัดเก็บภาษีศุลกากรสูงกว่าประเทศสมาชิก
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป
                    ไทยทำการค้ากับเอฟตา เป็นอันดับสองรองจากอีอีซี โดยมีประเทศสวิตเซอร์แลนด์เป็นคู่ค้าสำคัญที่สุด ส่วนบรรดาประเทศสมาชิกระดับรองลงมา ที่ไทยติดต่อการค้าด้วยคือ สวีเดน ฟินแลนด์ นอร์เว และออสเตรีย ตามลำดับ
                    สินค้าสำคัญที่ไทยส่งออกไปยังประเทศกลุ่มเอฟตา คือ อัญมณี สิ่งทอ น้ำตาลทรายดิบ สัตว์น้ำ ข้าว และเครื่องใช้สำหรับการเดินทาง โดยเฉพาะประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ซึ่งเป็นประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติน้อย ผลิตอาหารได้ไม่เพียงพอแก่การบริโภคภายในประเทศ มีการนำเข้าอาหารและวัตถุดิบมาก นอกจากนี้สวิตเซอร์แลนด์ยังมีนโยบายากรค้าเสรี และอัตราภาษีขาเข้าอยู่ในเกณฑ์ต่ำ ทำให้ลู่ทางการขยายตลาดของไทยเกี่ยวกับสินค้าประเภทอาหารมีมาก ส่วนสินค้าที่ไทยนำเข้าจากประเทศต่างๆในกลุ่มเอฟตา ได้แก่ เครื่องจักร วัตถุที่ใช้ทำกระดาษ เหล็ก สิ่งสกัดที่ใช้ในการฟอกหนังและย้อมสี เภสัชภัณฑ์ เคมีภัณฑ์ และยานพาหนะทางบก

Mount Vesuvius


Mt. Vesuvius Details
Mt. Vesuvius is an Italian volcano that erupted on August 24 A.D. 79 blanketing the towns and 1000s of residents of Pompeii, Stabiae, and Herculaneum. Pompeii was buried 10' deep, while Herculaneum was buried under 75' of ash. This volcanic eruption is the first to be described in detail. The letter-writing Pliny the Younger was stationed about 18 mi. away in Misenum from which vantage point he could see the eruption and feel the preceding earthquakes. His uncle, the naturalistPliny the Elder, was in charge of area warships, but he turned his fleet to rescuing residents and died.

Historical Importance:
In addition to Pliny's recording the sights and sounds of the first volcano to be described in detail, the volcanic covering of Pompeii and Herculaneum provided an amazing opportunity for future historians: The ash preserved and protected a vibrant city against the elements until future archaeologists unearthed this snapshot in time.


Eruptions:
Mt. Vesuvius had erupted before and continued to erupt about once a century until about A.D. 1037, at which point the volcano grew quiet for about 600 years. During this time, the area grew, and when the volcano erupted in 1631, it killed about 4000 people. During the rebuilding efforts, the ancient ruins of Pompeii were discovered on March 23, 1748. Today's population around Mt. Vesuvius is about 3 million, which is potentially catastrophic in the area of such a dangerous "Plinian" volcano.

Precursors and the Volcanic Eruption in A.D. 79:
Prior to the eruption, there were earthquakes, including a substantial one in A.D. 62 that Pompeii was still recovering from in 79. There was another earthquake in 64, while Nero was performing in Naples. Earthquakes were seen as facts of life. However, in 79, springs and wells dried up, and in August, the earth cracked, the sea became turbulent, and the animals showed signs that something was coming. When the eruption of the 24th of August began, it looked like a pine tree in the sky, according to Pliny, spewing noxious fumes, ash, smoke, mud, stones, and flames.

Type of Volcano:
Named after the naturalist Pliny, the type of eruption of Mt. Vesuvius is referred to as "Plinian." In such an eruption a column of various materials (called tephra) is ejected into the atmosphere, creating what looks like a mushroom cloud (or, perhaps, pine tree). Mt. Vesuvius' column is projected to have reached about 66,000' in height. Ash and pumice spread by the winds rained for about 18 hours. Buildings started to collapse and people began to escape. Then came high temperature, high velocity gases and dust, and more seismic activity