วันพุธที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2553

Vasco da Gama


Vasco da Gama
Early life
Vasco da Gama was born in either 1460[1] or 1469[2] in Sines, on the southwest coast of Portugal, probably in a house near the church of Nossa Senhora das Salas. Sines, one of the few seaports on the Alentejo coast, consisted of little more than a cluster of whitewashed, red-tiled cottages, tenanted chiefly by fisherfolk.
Vasco da Gama's father was Estêvão da Gama. In the 1460s he was a knight in the household of the Duke of Viseu, Dom Fernando,[3] who appointed him Alcaide-Mór or Civil Governor of Sines and enabled him to receive a small revenue from taxes on soap making in Estremoz.
Estêvão da Gama was married to Dona Isabel Sodré, daughter of João Sodré (also known as João de Resende). Sodré, who was of English descent, had links to the household of Prince Diogo, Duke of Viseu, son of king Edward I of Portugal and governor of the military Order of Christ.[4]
Little is known of Vasco da Gama's early life. The Portuguese historian Teixeira de Aragão suggests that Gama studied at the inland town of Évora, which is where he may have learned mathematics and navigation. It is evident that Gama knew astronomy well, and it is possible that he may have studied under the astronomer Abraham Zacuto.[5]
In 1492 King John II of Portugal sent Gama to the port of Setúbal, south of Lisbon and to the Algarve to seize French ships in retaliation for peacetime depredations against Portuguese shipping - a task that Vasco rapidly and effectively performed.
Exploration before Gama
From the early fifteenth century, the nautical school of Henry the Navigator had been extending Portuguese knowledge of the African coastline. From the 1460s, the goal had become one of rounding that continent's southern extremity to gain easier access to the riches of India (mainly black pepper and other spices) through a reliable sea route.
The Republic of Venice had gained control over much of the trade routes between Europe and Asia. Portugal hoped to use the route pioneered by Bartolomeu Dias to break the Venetian trading monopoly.
By the time Gama was ten years old, these long-term plans were coming to fruition. Bartolomeu Dias had returned from rounding the Cape of Good Hope, having explored as far as the Fish River (Rio do Infante) in modern-day South Africa and having verified that the unknown coast stretched away to the northeast.
Concurrent land exploration during the reign of João II of Portugal supported the theory that India was reachable by sea from the Atlantic Ocean. Pero da Covilhã and Afonso de Paiva were sent via Barcelona, Naples and Rhodes, into Alexandria and thence to Aden, Hormuz and India, which gave credence to the theory.
It remained for an explorer to prove the link between the findings of Dias and those of da Covilhã and de Paiva and to connect these separate segments into a potentially lucrative trade route into the Indian Ocean. The task, originally given to Vasco da Gama's father, was offered to Vasco by Manuel I on the strength of his record of protecting Portuguese trading stations along the African Gold Coast from depredations by the French.
First voyage
On 8 July 1497 Vasco da Gama led a fleet of four ships with a crew of 170 men from Lisbon. The distance traveled in the journey around Africa to India and back was greater than around the equator.[6][7] The navigators included Portugal's most experienced, Pero de Alenquer, Pedro Escobar, João de Coimbra, and Afonso Gonçalves. It is not known for certain how many people were in each ship's crew but approximately 55 returned, and two ships were lost. Two of the vessels were as naus or newly built for the voyage, possibly a caravel and a supply boat.[6] The four ships were:
The São Gabriel, commanded by Vasco da Gama; a carrack of 178 tons, length 27 m, width 8.5 m, draft 2.3 m, sails of 372 m²
The São Rafael, whose commander was his brother Paulo da Gama; similar dimensions to the São Gabriel
The caravel Berrio, slightly smaller than the former two (later re-baptised São Miguel), commanded by Nicolau Coelho
A storage ship of unknown name, commanded by Gonçalo Nunes, later lost near the Bay of São Brás, along the east coast of Africa[3]
Journey to the Cape
The expedition set sail from Lisbon on 8 July 1497, following the route pioneered by earlier explorers along the coast of Africa via Tenerife and the Cape Verde Islands. After reaching the coast of present day Sierra Leone, Gama took a course south into the open ocean, crossing the Equator and seeking the South Atlantic westerlies that Bartolomeu Dias had discovered in 1487. This course proved successful and on November 4, 1497, the expedition made landfall on the African coast. For over three months the ships had sailed more than 6,000 miles of open ocean, by far the longest journey out of sight of land made by the time.[6][8]
By December 16, the fleet had passed the Great Fish River - where Dias had turned back - and sailed into waters previously unknown to Europeans. With Christmas pending, Gama and his crew gave the coast they were passing the name Natal, which carried the connotation of "birth of Christ" in Portuguese.
Arab-controlled territory on the East African coast was an integral part of the network of trade in the Indian Ocean. Fearing the local population would be hostile to Christians, Gama impersonated a Muslim and gained audience with the Sultan of Mozambique. With the paltry trade goods he had to offer, Gama was unable to provide a suitable gift to the ruler and soon the local populace became suspicious of Gama and his men. Forced by a hostile crowd to flee Mozambique, Gama departed the harbor, firing his cannons into the city in retaliation.[9]
Mombasa
In the vicinity of modern Kenya, the expedition resorted to piracy, looting Arab merchant ships - generally unarmed trading vessels without heavy cannons. The Portuguese became the first kn Malindiown Europeans to visit the port of Mombasa but were met with hostility and soon departed
Malindi
In February 1498, Vasco da Gama continued north, landing at the friendlier port of Malindi - whose leaders were then in conflict with those of Mombasa - and there the expedition first noted evidence of Indian traders. Gama and his crew contracted the services of a pilot whose knowledge of the monsoon winds allowed him to bring the expedition the rest of the way to Calicut (Kozhikode), located on the southwest coast of India. Sources differ over the identity of the pilot, calling him variously a Christian, a Muslim, and a Gujarati. One traditional story describes the pilot as the famous Arab navigator Ibn Majid, but other contemporaneous accounts place Majid elsewhere, and he could not have been near the vicinity at the time.[10] Also, none of the Portuguese historians of the time mention Ibn Majid.
Calicut, India
The fleet arrived in Kappad near Calicut, India on 20 May 1498. The King of Calicut, the Saamoothiri (Zamorin), who was at that time staying in his second capital at Ponnani, returned to Calicut on hearing the news of the European fleets's arrival.The king ordered the visitors to move to the then famous port of Panthalayani. de Gama landed at panthalayani( not kappad as some say[who?]) that is 6 km away from kappad.[citation needed] The navigator was received with traditional hospitality, including a grand procession of at least 3,000 armed Nairs, but an interview with the Zamorin failed to produce any concrete results. The presents that da Gama sent to the Zamorin as gifts from Dom Manuel—four cloaks of scarlet cloth, six hats, four branches of corals, twelve almasares, a box with seven brass vessels, a chest of sugar, two barrels of oil and a cask of honey—were trivial, and failed to cut any ice. While Zamorin's officials wondered at why there was no gold or silver, the Muslim merchants who considered da Gama their rival suggested that the latter was only an ordinary pirate and not a royal ambassador![11] Vasco da Gama's request for permission to leave a factor behind him in charge of the merchandise he could not sell was turned down by the King, who insisted that da Gama pay customs duty—preferably in gold—like any other trader, which strained the relation between the two. Annoyed by this, da Gama carried a few Nairs and sixteen Mukkuva fishermen off with him by force.[12] Nevertheless, da Gama's expedition was successful beyond all reasonable expectation, bringing in cargo that was worth sixty times the cost of the expedition.
Return
Vasco da Gama set sail for home on 29 August 1498. Eager to leave he ignored the local knowledge of monsoon wind patterns, which was still blowing onshore. Crossing the Indian Ocean to India, sailing with the monsoon wind, had taken Gama's ships only 23 days. The return trip across the ocean, sailing against the wind, took 132 days, and Gama arrived in Malindi on 7 January 1499. During this trip, approximately half of the crew died, and many of the rest were afflicted with scurvy. Two of Gama's ships made it back to Portugal, arriving in July and August of 1499.[13]
Vasco da Gama returned to Portugal in September 1499 and was richly rewarded as the man who had brought to fruition a plan that had taken eighty years to fulfill. He was given the title "Admiral of the Indian Seas,"[14] and his feudal rights to Sines were confirmed.[15] Manuel I also awarded the perpetual title of Dom (lord) to Gama, as well as to his brothers and sisters and to all of their descendants.
The spice trade would prove to be a major asset to the Portuguese economy, and other consequences soon followed. For example, Gama's voyage had made it clear that the east coast of Africa, the Contra Costa, was essential to Portuguese interests; its ports provided fresh water, provisions, timber, and harbors for repairs, and served as a refuge where ships could wait out unfavorable weather. One significant result was the colonization of Mozambique by the Portuguese Crown.
However, Gama's achievements were somewhat dimmed by his failure to bring any trade goods of interest to the nations of India. Moreover, the sea route was fraught with its own perils - his fleet went more than thirty days without seeing land and only 60 of his 180 companions, on one of his three ships, returned to Portugal in 1498. Nevertheless, Gama's initial journey opened a direct sea route to Asia.
Second voyage
On 12 February 1502, Gama commnanded the 4th Portuguese Armada to India, a fleet of fifteen ships and eight hundred men, with the object of enforcing Portuguese interests in the east. On reaching India in October 1502, Gama started capturing any Arab vessel he came across in Indian waters. While the Zamorin was willing to sign a treaty[16], Gama made a preposterous call to the Hindu King to expel all Muslims from Calicut which was naturally turned down. He bombarded the city that destroyed several houses on the sea shore and captured several rice vessels and barbariously cut off the crew's hands, ears and noses.[17] He returned to Portugal in September 1503. He then sailed south to Cochin, a small vassal kingdom of Calicut where he was given a warm welcome. He returned to Europe with silk and gold.
Once he had reached the northern parts of the Indian Ocean, Gama waited for a ship to return from Mecca and seized all the merchandise on it. He then ordered the hundreds of passengers be locked in the hold and the ship - named Mîrî, and which contained many wealthy Muslim merchants — to be set on fire.[18]
Gama assaulted and exacted tribute from the Arab-controlled port of Kilwa in East Africa, one of those ports involved in frustrating the Portuguese. His ships engaged in privateer actions against Arab merchant ships
Third voyage
In 1519 he became the first Count of Vidigueira, a count title created by King Manuel I of Portugal on a royal decree issued in Évora in December 29, after an agreement with Dom Jaime, Duke of Braganza, who cede him on payment the towns of Vidigueira and Vila dos Frades, granting Vasco da Gama and his heirs all the revenues and privileges related,[19] thus becoming the first Portuguese count (earl) who was not born with royal blood.
Having acquired a fearsome reputation as a "fixer" of problems that arose in India, Vasco da Gama was sent to the subcontinent once more in 1524. The intention was that he was to replace the incompetent Eduardo de Menezes as viceroy (representative) of the Portuguese possessions, but Gama contracted malaria not long after arriving in Goa and died in the city of Cochin on Christmas Eve in 1524.
His body was first buried at St. Francis Church, which was located at Fort Kochi in the city of Kochi, but his remains were returned to Portugal in 1539. The body of Vasco da Gama was re-interred in Vidigueira in a casket decorated with gold and jewels.
The Monastery of the Hieronymites in Belém was erected in honor of his voyage to India.

Acts of Cruelty
Vasco da Gama inflicted acts of cruelty upon competing traders and local inhabitants.[20][21] During his second voyage to Calicut, Gama intercepted a ship of Muslim pilgrims at Madayi travelling from Calicut to Mecca. Described by the Portuguese historian Gaspar Correia as one that is unequalled in cold- blooded cruelty, Gama looted the ship with over 400 pilgrims on board including 50 women, locked the passengers, the owner and an ambassador from Egypt and burnt them to death. They offered their wealth which 'could ransom all the Christian slaves in the Kingdom of Fez and much more' but were not spared. Gama looked on through the porthole and saw the women bringing up their gold and jewels and holding up their babies to beg for mercy.'[22]
After demanding the expulsion of Muslims from Calicut to the Hindu Zamorin, the latter sent the high priest Talappana Namboothiri (the very same person who conducted Gama to the Zamorin's chamber during his much celebrated first visit to Calicut in May 1498) for talks, Gama called him a spy, ordered the priests' lips and ears to be cut off and after sewing a pair of dog's ears to his head, sent him away.[20]
Legacy
Gama and his wife, Catarina de Ataíde, had six sons and one daughter: Dom Francisco da Gama, 2nd Count of Vidigueira; Dom Estevão da Gama, 11th Governor of India (1540–1542); Dom Paulo da Gama; Dom Pedro da Silva da Gama; Dom Álvaro de Ataíde da Gama, Captain of Malacca; Dona Isabel de Ataíde da Gama and Dom Cristovão da Gama, a martyr in Ethiopia. His male line issue became extinct in 1747, though the title went through female line.
As much as anyone after Henry the Navigator, Gama was responsible for Portugal's success as an early colonising power. Beside the fact of the first voyage itself, it was his astute mix of politics and war on the other side of the world that placed Portugal in a prominent position in Indian Ocean trade. Following Gama's initial voyage, the Portuguese crown realized that securing outposts on the eastern coast of Africa would prove vital to maintaining national trade routes to the Far East.
Nevertheless, Vasco da Gama's international fame has more often been argued as due to historical reasons for which he was hardly responsible.[23] It is to be noted that unlike Columbus or Magellan, Gama was never sailing in uncharted waters. He was not making a discovery as India was no terra incognita as it was already in contact with Europe, Africa and Asia for ages. The seafarers of African coast from where Gama set out for Calicut knew the routes and winds and more importantly he was accompanied by a Portuguese- knowing Arab merchant provided by the Sultan of Malindi in East Africa.[24] Gama, in fact pioneered modern European Colonialism built up by men who combined greed with diplomacy and covered up the greed with sophistication[25]
Gama's arrival at Calicut and the so- called discovery of sea route to India was not an important event in the international trade scene. The official Kozhikode Grandhavari (Calicut Chronicles) did not even deem the episode of Gama meeting the Zamorin worthy of separate reference. It looms large in our minds when we look back in search of a specific, dramatic starting point for modern European colonialism in India and the rest of Asia. It was pleasing to the western mind as it enhanced the prestige of Europe recovering from the throes of the Dark Ages.[26]
The Portuguese national epic, the Lusíadas of Luís Vaz de Camões, largely concerns Vasco da Gama's voyages. The 1865 opera L'Africaine: Opéra en Cinq Actes, composed by Giacomo Meyerbeer and Eugène Scribe, prominently includes the character of Vasco da Gama. A 1989 production of the composition by the San Francisco Opera featured noted tenor Placido Domingo in the role of Gama.[27] The 19th century composer, Louis-Albert Bourgault-Ducoudray, composed an eponymous 1872 opera based on Gama's life and exploits at sea.
The port city of Vasco da Gama in Goa is named after him, as is the crater Vasco da Gama on the Moon. There are three football clubs in Brazil (including Club de Regatas Vasco da Gama) and Vasco Sports Club in Goa that were also named after him. There exists a church in Kochi, Kerala called Vasco da Gama Church, and a private residence on the island of Saint Helena. The suburb of Vasco in Cape Town also honours him.
A few places in Lisbon's Parque das Nações are named after the explorer, such as the Vasco da Gama Bridge, Vasco da Gama Tower and the Centro Comercial Vasco da Gama shopping centre.[28] The Oceanário in the Parque das Nações, has a mascot of a cartoon diver with the name of "Vasco", who is named after the explorer.[29]
South African musician Hugh Masekela recorded an anti-colonialist song entitled "Vasco da Gama (The Sailor Man)", which contains the lyrics "Vasco da Gama was no friend of mine". He later recorded another version of this song under the name "Colonial Man".

มาร์โก โปโล


มาร์โก โปโล


มาร์โค โปโล (Marco Polo)[c.1254-1324]
มาร์โค โปโล นักเดินทางในสมัยกลางชาวอิตาเลี่ยน ถือว่าเป็นชาวยุโรปคนแรก ที่เดินทางข้ามทวีปเอเชีย และได้เขียนบันทึกการเดินทางเกี่ยวกับสิ่งที่เขาได้ยินได้ฟังเอาไว้. หนังสือบันทึกการเดินทางของเขาได้รับการรู้จักกันในภาษาอังกฤษว่า The Travels of Marco Polo, ในหนังสือเล่มดังกล่าว เขาได้อธิบายถึงทวีปๆหนึ่ง ซึ่งไม่เป็นที่รู้จักกันเลยสำหรับชาวยุโรปในยุคสมัยของเขา. เขาได้พรรณาถึงอารยธรรมเกี่ยวกับจีน ซึ่งเจริญเหนือกว่าวัฒนธรรม และเทคโนโลยีของชาวยุโรป. แต่เนื่องจากว่าบางส่วน มีนัยะที่เป็นไปในเชิงยกยอปอปั้น, หนังสือเล่มนี้จึงไม่ได้รับการพิจารณาในสาระสำคัญ เพราะถือว่าเป็นเรื่องที่เสกสรรค์ขึ้นมา และเป็นเรื่องเกินความจริงไป. จนกระทั่งคริสตศตวรรษที่ 19 นักวิชาการและบรรดานักสำรวจทั้งหลาย จึงยืนยันถึงความถูกต้องเที่ยงตรงโดยทั่วๆไป เกี่ยวกับการสังเกตุการณ์ของมาร์โค โปโล.

ครอบครัวของมาร์โค โปโล และการเดินทางของพวกเขา
พ่อของมาร์โค โปโล, Niccolo, และลุงของเขา Maffeo เป็นพ่อค้าที่มั่งคั่งแห่ง Venetian Republic. ตอนที่มาร์โคยังเป็นเด็กอยู่ พ่อและลุงของเขาได้จากครอบครัวในเวนิส และออกเดินทางไกลไปในดินแดนที่ไม่ได้คาดหวังเอาไว้ จนไปถึงประเทศจีน. ในช่วงเวลานั้น ไม่มีชาวคริสเตียนตะวันตกคนใดเท่าที่ทราบ ได้เคยเดินทางไปประเทศจีนมาก่อน, และเมื่อตระกูลโปโลได้เดินทางไปถึงประเทศจีน พวกเขาก็ได้รับการต้อนรับด้วยไมตรีจิตอย่างอบอุ่นโดยผู้ปกครอง นามว่า Kublai Khan, จักรพรรดิ์แห่งมองโกลส์.


กุปไบล ข่าน ได้สอบถามคนทั้งสองด้วยความสนใจอย่างยิ่งเกี่ยวกับดินแดนยุโรป. พระองค์ได้มอบหมายให้ทั้งคู่นำพระราชสาส์นไปมอบให้กับ Pope Clement IV เพื่อขอให้ทรงส่งผู้คนแก่เรียนจำนวน 100 คนมายังราชสำนักของพระองค์ เพื่อจะได้ถกกันถึงปัญหาธรรมมะ และสนทนากนถึงคุณความดีของคริสตศาสนา. ตระกูลโปโลได้รับปากว่า จะนำน้ำมันจากตะเกียงเหนือหลุมฝังพระศพขององค์พระเยซูคริสต์ในกรุงเยรูซาเล็มกลับมาด้วย.
ในปี 1269 สองพี่น้องตระกูลโปโล ได้เดินทางกลับมาถึงป้อมปราการ Crusader of Acre ในปาเลสไตน์. ฑูตของสันตะปาปาที่ Acre, Teobaldo Visconti, ได้ให้ข่าวแก่คนทั้งสองว่า Pope Clement ได้สิ้นพระชนม์แล้ว แต่ได้เร่งเร้าให้พวกเขาปฏิบัติตามพันธกิจของตน เมื่อองค์สันตะปาปาองค์ใหม่ได้รับการเลือกตั้งขึ้น. สองพี่น้องตระกูลโปโลอธิบายว่า จะใช้เวลาในช่วงระหว่างนั้นไปเยี่ยมครอบครัวของตน, แต่ในขณะที่เดินทางกลับมายังบ้านเกิด Niccolo ได้ทราบข่าวว่า ภรรยาของเขาได้ถึงแก่กรรมลงแล้ว. บุตรชายของเขา Marco ตอนนี้ก็มีอายุย่างเข้า 15 ปีแล้ว.

การเลือกตั้งสันตะปาปาองค์ใหม่ได้ดำเนินไปอย่างเชื่องช้า และหลังจากนั้นสองปี ผู้เป็นน้อง(หมายถึงพ่อของมาร์โค)ก็ตัดสินใจว่า ถ้าหากว่าพวกเขายังต้องรอต่อไปอีก มันจะสายเกินไปที่จะหวนกลับไปเฝ้าองค์จักรพรรดิ์กุปไบล ข่าน. ดังนั้นในปี 1271 พวกเขาจึงกลับไปยัง Acre, และครั้งนี้เขาได้นำเอามาร์โค โปโลติดตามไปด้วย. หลังจากที่ได้ปรึกษาหารือกับฑูตของสันตะปาปา Teobaldo, พวกเขาก็เดินทางต่อไปยังกรุงเยรูซาเล็ม และไปรับเอาน้ำมันตะเกียงอันศักดิ์สิทธิ์.

พร้อมน้ำมันตะเกียงและจดหมายฉบับหนึ่งจากท่านฑูตขององค์สันตะปาปา ตระกูลโปโลทั้งสามคนก็เริ่มออกเดินทางไกลไปยังประเทศจีน. ก่อนที่พวกเขาจะออกเดินทางไกลครั้งนี้ พวกเขาได้รับรู้จาก Teobaldo เองว่าจะได้รับเลือกให้เป็นสันตะปาปา ตัวท่านเองจะเป็นผู้ตอบรับคำขอของจักรพรรดิ์กุปไบล ข่าน. แต่ว่าสันตะปาปาองค์ใหม่, ผู้ซึ่งได้ฉายาว่า Gregory X, สามารถที่จะส่งผู้คงแก่เรียนหรือมิชชันนารีไปกับครอบครัวโปโลได้เพียง 2 คนเท่านั้น แทนที่จะเป็น 100 คนตามที่ได้มีพระราชสาส์นขอมา. ถึงกระนั้นก็ตาม มิชชันนารีทั้งสองคนนี้ ต่อมาไม่นานก็ได้ละทิ้งการเดินทางนี้ไปเสีย.

การเดินทางซึ่งต้องข้ามภูเขาและทะเลทรายแห่งเอเชีย ทำให้พวกเขาต้องใช้เวลาในการเดินทางยาวนานถึง 3 ปีครึ่งทีเดียว, และมาสิ้นสุดที่ Shangtu, อันเป็นเมืองหลวงสำหรับฤดูร้อนขององค์จักรพรรดิ์กุปไบล ข่าน. องค์พระจักรพรรดิ์ฯ ได้ต้อนรับนักเดินทางด้วยเครื่องหมายอันแสดงถึงไมตรีจิตที่พิเศษ และรับรอง Marco ด้วย ซึ่งตอนนี้เขามีอายุ 20 ย่าง 21 ปีแล้ว, พวกเขาต่างๆได้รับการต้อนรับท่ามกลางผู้รับใช้ของพระองค์อย่างสมเกียรติ.
ถึงแม้ว่ามันจะไม่เป็นที่ชัดเจนนักว่า สิ่งที่ตระกูลโปโลทำนั้นในช่วง 17 ปีที่พำนักอยู่ในประเทศจีนคืออะไร, แต่เป็นที่ทราบกันดีว่ากุปไบล ข่าน ได้ใช้เจ้าหน้าที่ทางการชาวต่างประเทศเป็นจำนวนมาก และมาร์โคได้รับหน้าที่กระทำภารกิจในเรื่องที่ต้องสัญจรไปในที่ห่างไกลของจักรวรรดิ์ และได้บรรลวัตถุประสงค์อยู่เนืองๆ. สำหรับการเดินทางครั้งหนึ่งนั้น ได้อนุญาตให้มาร์โค โปโล เดินทางไปยังทิศตะวันตกเฉียงใต้จนถึงเมืองยูนาน และเป็นไปได้ว่า เขาจะไปถึงประเทศพม่าด้วย. ส่วนอีกครั้งของการเดินทางนั้น เขาได้ท่องไปยังทิศตะวันออกเฉียงใต้สู่เมืองหางโจว อันถือว่าเป็นเมืองใหญ่แห่งหนึ่งซึ่งทัดเทียมไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าความงดงามของเมืองหลวงของจักรพรรดิ์กุปไบล ข่าน, นั่นคือ เมือง Taitu หรือ Khanbalik (หรือปักกิ่งนั้นเอง).

มันมีเหตุผลที่จะคิดไปได้ว่า มาร์โค โปโล ได้มีความสัมพันธ์กันบางอย่างกับผู้บริหารที่ได้รับเอกสิทธิ์เกี่ยวกับการค้าเกลือ. แต่มันไม่ได้รับการบันทึกเอาไว้ในรายงาน. ในเรื่องเล่าส่วนใหญ่ของหนังสือบันทึกการเดินทางของมาร์โค โปโล, ผู้บริหารเกี่ยวกับการค้าเกลือนี้ เขาเป็นผู้ปกครองเมืองหยางโจว ซึ่งถือว่าเป็นเมืองที่มีความสำคัญ และตระกูลโปโลได้มีบทบาทอย่างสำคัญในการยึดครองของมองโกลส์เกี่ยวกับเมือง Saianfu ด้วย.

ในที่สุด พอถึงปี 1929 ตระกูลโปโลก็ได้ออกจากเมืองจีน ซึ่งในช่วงเวลานั้น จักรพรรดิ์กุปไบล ข่าน ย่างเข้าสู่วัยชราภาพแล้ว. ชาว Venetian ทั้งสามเกรงว่า ข้าราชบริภารราชสำนักที่เป็นภัยต่อพวกเขาอาจนำอันตรายมาสู่พวกเขาได ้เมื่อผู้ปกป้องพวกเขาต้องเสด็จสวรรคต. การรู้ว่า เจ้าหญิงพระองค์หนึ่งของจักรพรรดิ์กุปไบล ข่านได้รับการยกให้กับผู้ปกครองชาวมองโกลส์แห่งเปอร์เชีย เป็นช่องทางอันหนึ่งที่พวกเขาจะได้ออกจากเมืองจีนและกลับไปยังบ้านเกิดของตน, ดังนั้น ตระกูลโปโลจึงขอพระราชทานอนุญาตจากกษัตริย์กุปไบล ข่าน เพื่อไปเป็นผู้คุ้มกันในขบวนเสด็จของเจ้าหญิง ทั้งๆที่จักรพรรดิ์กุปไบล ข่านจะไม่เต็มพระทัยก็ตาม.

การเดินทางนั้นใช้เส้นทางเรือมุ่งหน้าออกสู่ทะเล และจากเปอร์เชีย ตระกูลโปโล ในท้ายที่สุด ก็ได้มาถึงเมืองเวนิสในปี 1295 หลังจากที่ต้องร้างลาจากบ้านเกิดมานานถึง 24 ปีเต็ม.
เรื่องเล่าตำนานอันนี้ เมื่อแรกมันไม่ได้รับการยอมรับ, ทั้งนี้เพราะ มันเป็นเรื่องที่แปลกประหลาดต่อเพื่อนบ้านของพวกเขา เกี่ยวกับการสร้างโชคลาภขึ้นมาด้วยอัญมณีจากเสื้อบุชั้นใน ในเสื้อผ้าของพวกเขา. ในช่วงเวลาระหว่าง 3 ปีต่อมา, มาร์โค โปโล ได้ถูกจับเป็นเชลยในสงครามทางทะเลระหว่างเวนิสและจีนัว. ในคุกของจีนัว เขาได้เล่าถึงประสบการณ์ของตนเองในเอเชียแก่บรรดาคนคุกทั้งหลายฟัง. และเมื่อนักโทษคนหนึ่ง นามว่า Rustichello, ซึ่งเป็นนักเขียนเรื่องโรมานส์ ได้เสนอเรื่องราวอันน่าสนใจเกี่ยวกับสิ่งที่มาร์โค โปโลได้พูดถึงนี้เป็นลายลักษณ์อักษร, มาร์โค โปโล ก็ยอมรับว่าเป็นเช่นนั้นจริง และได้ส่งบันทึกการเดินทางดังกล่าวไปยังเมืองเวนิส. ด้วยวิธีการนี้ การเดินทางครั้งนั้นของมาร์โค โปโล จึงได้ถุกบันทึกสำหรับชนรุ่นหลังต่อมา.

เมื่อได้รับการปลดปล่อยจากการเป็นนักโทษราวปี 1299, มาร์โค โปโล ได้หวนคืนกลับไปยังเมืองเวนิส และได้เริ่มต้นทำการค้าของเขาขึ้นมาอีกครั้ง. เขาได้แต่งงานและมีลูก และถึงแก่กรรมลงในปี 1324. ตอนที่เขาถึงแก่กรรมนั้น ได้ทิ้งหลักทรัพย์ซึ่งเป็นที่ดินมากมายให้แก่ลูกสาว 3 คนของเขา. บนเตียงนอนก่อนที่เขาจะตาย เขาได้พูดออกมาซึ่งมีบันทึกเอาไว้ว่า : "ข้าไม่ได้เล่าเรื่องราวอีกครึ่งหนึ่งที่ข้าได้ไปพบเห็นมา ให้ใครฟัง เพราะว่าข้ารู้ดีว่ามันคงจะไม่มีใครเชื่อ"(I did not tell half of what I saw, because I knew I would not be believed".

หนังสือของมาร์โค โปโล

ชื่อเรื่องเดิมเกี่ยวกับหนังสือของมาร์โค โปโล นั้นคือ Description of the World (คำอธิบายเกี่ยวกับโลก). จุดมุ่งหมายของเขาเกี่ยวกับงานชิ้นนี้ เขาเขียนขึ้นมาก็เพื่อ ต้องการให้คนอื่นๆนำเอาความรู้ที่เขาเรียนรู้มาไปใช้ได้ ทั้งนี้เป็นการรวบรวมขึ้นมาจากสิ่งที่เขาได้พบเห็นโดยตรง และเรื่องราวที่น่าเชื่อถือที่เขาได้ยินมา. ด้วยเหตุดังนั้น หนังสือเล่มดังกล่าว จึงครอบคลุมสถานที่ต่างๆ อย่างเช่น ญี่ปุ่น และอาร์คติค ซึ่งเขายอมรับว่าเขาไม่เคยไปแวะเวียนที่นั่นมาเลย.

มาร์โค โปโล เป็นคนที่สนใจในทุกสิ่งทุกอย่างเกี่ยวกับประเทศหนึ่ง, เช่นเดียวกับจักรพรรดิ์กุปไบล ข่าน, ซึ่งสำหรับพระองค์ทรงมีบุคลิกลักษณะเช่นนี้. มาร์โค โปโล ได้ฝึกฝนพลังแห่งการสังเกตุและเฝ้าดูของตนเองขึ้นมา เพื่อที่จะเขียนรายงานที่สมบูรณ์เท่าที่จะทำได้เกี่ยวกับการเดินทางที่เป็นทางการ. หนังสือของมาร์โค โปโลเกี่ยวกับข้องกับรูปร่างของผืนแผ่นดิน, สัตว์ และพืชพันธุ์ต่างๆ สิ่งประดิษฐ์ การผลิต ขนบธรรมเนียมประเพณี รัฐบาล และศาสนา. สิ่งที่น่าพิศวงมากมายที่เขาได้บันทึกเอาไว้ มาถึงตอนนี้ กลายเป็นเรื่องธรรมดาไม่น่าสนใจแล้ว; ดังเช่น หินและของเหลวซึ่งติดไฟได้ ปัจจุบันเราทราบกันแล้วว่าคือถ่านหินและน้ำมัน. ส่วนสิ่งที่แปลกประหลาดอื่นๆนับแต่ที่ได้รับการยืนยัน อย่างเช่น เรื่องราวของมนุษย์กินคนแห่งสุมาตรา, ยังคงมีเสน่ห์ตรึงใจอยู่. เรื่องราวที่ฟังดูเหลวไหลไร้สาระที่รู้กันทั่วไป อย่างเช่น ชนเผ่าหนึ่งซึ่งมีหาง ปกติแล้วไม่ได้เป็นที่รับรองโดยส่วนตัว. สำหรับเหตุผลบางประการ มาร์โค โปโล ไม่ประสบความสำเร็จที่จะกล่าวถึงหลายสิ่งหลายอย่างที่น่าสนใจมาก, ซึ่งอันนี้รวมถึงกำแพงเมืองจีนที่ยิ่งใหญ่มากและการดื่มน้ำชา. เขาอาจจะคิดว่ารายละเอียดอันนั้น มันไม่น่าเชื่อถือหรือไม่มีความสำคัญ หรือเขาอาจจะหลงลืมมันไป. ทั้งนี้เพราะ เรื่องคลาสสิคของมาร์โค โปโล ก็คือ ผลงานชิ้นหนึ่งทางด้านวิทยาศาสตร์ ยิ่งกว่าเรื่องราวอัตชีวประวัติและเรื่องเล่าของการเดินทาง

หนังสือที่เขาเขียนขึ้นมา มันได้เผยถึงบุคลิกภาพส่วนตัวของเขาเพียงเล็กน้อยเท่านั้น หรือแม้แต่เรื่องราวของการผจญภัยที่เขาประสบก็ตาม. แน่นอน มาร์โค โปโล มีความอยากรู้อยากเห็นมาก และเป็นนักสังเกตุการณ์ที่หลักแหลมที่สุดคนหนึ่ง. เขาจะต้องเป็นบุคคลที่มีใจห้าวหาญ เป็นคนเจ้าความคิด และกล้าแกร่งพร้อมที่จะเผชิญกับความยากลำบาก. เขาเป็นคนที่มีอคติ ในฐานะชนชาวคริสเตียนในสมัยกลางซึ่งมีต่อศาสนาอิสลาม แต่ก็เป็นคนซึ่งมีจิตใจเปิดกว้างเกี่ยวกับพุทธศาสนาและศาสนาฮินดู. ในความตั้งใจของเขานั้น เขาได้ปลดปล่อยทาสชาวตาต้าให้เป็นอิสระ.

หนังสือเล่มดังกล่าวได้แพร่หลายไปในรูปของข้อความที่ได้รับการคัดสำเนาด้วยลายมือ จนกระทั่งมันได้รับการตีพิมพ์ออกมาครั้งแรกเป็นเล่มในปี 1477. ต้นฉบับลายมือดั้งเดิมนั้น เชื่อกันว่าเป็นภาษาฝรั่งเศส ทั้งนี้เพราะต้นฉบับที่เป็นภาษาอิตาเลี่ยนจำนวนมากนั้นไม่ได้เหลือรอดต่อมาให้เห็นเลย. ทราบกันว่ามีการคัดสำเนาเรื่องนี้เอาไว้ราว 140 ก๊อปปี้ ในภาษาต่างๆอย่างหลากหลาย. และไม่มีต้นฉบับเล่มใดที่เหมือนกันจริงๆกับเนื้อหาต้นฉบับเลย.

แม้ว่าเมื่อเร็วๆนี้ จะเป็นที่ทราบกันดีว่า หนังสือเล่มดังกล่าวไม่ได้รับความสนใจกันอย่างจริงจังมากนัก เว้นแต่โดยนักวิชาการเพียงไม่กี่คนและบรรดานักสำรวจเท่านั้น. ตระกูลโปโลได้บุกเบิกเส้นทางไปยังประเทศจีนสำหรับพวกมิชชั่นนารีและพ่อค้าเพียงไม่กี่คน, แต่เส้นทางดังกล่าวนี้ ได้รับการเปิดขึ้นมาโดยการพิชิตของชาวมองโกลส์ที่มีต่อเอเชียส่วนใหญ่ ก็ได้ถูกปิดลงอีกครั้ง เมื่อจักรวรรดิ์มองโกลส์ได้ล่มสลายในศตวรรษที่ 14. แต่อย่างไรก็ตาม สิ่งที่การเดินทางครั้งนี้ได้กระทำ, ก็คือการกระตุ้นต่อการแสวงหาเครื่องเทศของชาวยุโรปและความหรูหราอื่นๆของตะวันออก. โคลัมบัส เป็นตัวอย่าง ผู้ซึ่งได้อ่านหนังสือเล่มนี้และได้ทำบันทึกลงในหนังสือี้ของเขา. เขาได้เขียนข้อความว่า มันเป็นเพราะบันทึกการเดินทางเกี่ยวกับคาเธ่ย์ หรือประเทศจีนของมาร์โค โปโล นั่นเอง ที่ทำให้โคลัมบัสมุ่งหน้าสู่ทิศตะวันตกในปี 1492.

วันอังคารที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2553

8 วิธีอ่านหนังสือสอบได้อย่างเซียน!!

เมื่อลองย้อนเวลากลับไปในสมัยที่เรียนอยู่ ช่วงเวลาที่น่าเบื่อที่สุดคือ ช่วงเวลาแห่งการท่องตำราสอบ ไม่ว่าจะเรียนอยู่ในระดับไหนก็หลีกเลี่ยงการท่องตำราสอบกันไม่ได้ทั้งนั้น เคยเป็นไหมที่รู้สึกว่า อยากให้มีเวลาเยอะกว่านี้
เพื่อจะได้อ่านหนังสือสอบให้ทัน วันนี้เราจึงรวบรวมเทคนิคการอ่านให้ได้ประสิทธิภาพ ที่คิดว่าพอจะแก้ปัญหาเกี่ยวกับการอ่านมานำเสนอ ดังนี้
1. หัดให้ตัวเองมีวินัยให้ได้ คือ ถ้าเราวางแผนว่าจะอ่านหนังสือให้ได้เท่านี้สำหรับวันนี้ เราก็ต้องทำให้ได้ วิธีฝึกเริ่มแรกให้กำหนดง่ายๆ ก่อนว่า วันนี้เราจะอ่านตำราแค่ 1 บท หรือ 10 หน้า เป็นต้น เอาแค่นี้ให้ได้ ถ้าอ่านจบเร็วก็ไปทำอย่างอื่น พอวันต่อๆ ไปก็ค่อยๆ เพิ่มปริมาณขึ้นตามสมควร แล้วก็ต้องอ่านให้ได้ตามเป้าหมาย เมื่อเราอ่านได้ตามเป้าแล้วในแต่ละครั้งก็อย่าลืมให้รางวัลตัวเองด้วยทุกครั้ง โดยรางวัลก็อาจจะเป็นอะไรง่ายๆ เช่น ได้ดูละครหนึ่งเรื่องตอนกลางคืน เป็นต้น
2. วางแผนการอ่านหนังสือ เมื่อเรามีวินัยและเคารพการวางแผนของตัวเองแล้ว ต่อไปก็ต้อง วางแผนการอ่านหนังสือ การวางแผนที่ดีนั้นสำคัญมาก เพราะทำให้เราเดินไปถูกทิศทาง การวางแผนไม่ถือเป็นการเสียเวลา แต่เป็นการประหยัดเวลาในระยะยาว เพราะไม่ต้องไปเสียเวลาเดินผิดทาง
3. อย่าตะบี้ตะบันอ่านเกินควร อย่าคิดว่าตัวเองเป็น superman คือ สามารถอ่านหนังสือได้เยอะเกินกำลังภายในเวลาอันสั้น อย่าวางตารางการอ่านให้แน่นเกินไป เพราะนอกจากจะทำไม่ได้ตามแผนอยู่แล้ว ยังทำให้ตัวเองเครียดเพราะแผนนั้นโดยไม่จำเป็นด้วย แรกๆ อาจจะกะความสามารถตัวเองยากหน่อย หรือการอ่านตำราภาษาอังกฤษกับภาษาไทยก็ใช้ระยะเวลาการอ่านไม่เท่ากัน ก็ใช้เก็บสถิติจากการอ่านในรอบแรกๆ เช่น การอ่านภาษาอังกฤษ 1 หน้า เราใช้เวลา 10 นาที เราก็จะประมาณถูกว่าต้องใช้เวลาเท่าไรจึงจะอ่านจบบทหรือจบวิชา เป็นต้น
4. หาที่อ่านที่สงบเงียบและนั่งสบาย ส่วนบรรยากาศก็แล้วแต่คนชอบ บางคนชอบอ่านที่บ้าน ในห้องสมุด ในสวนมีต้นไม้เขียวๆ หรือในร้านกาแฟ หรือบางทีเราก็เปลี่ยนไปเรื่อยๆ แต่ควรไม่อยู่ใกล้ทีวี หรือสิ่งต่างๆ ที่ทำให้เราเสียสมาธิ เพราะทำให้เราเสียเวลาในการอ่าน และทำให้จำได้ไม่ดีด้วย แต่ก็ทราบมาว่าบางคนจะชอบให้มีเสียงเพลงหรือเสียงอื่นๆ เวลาอ่านหนังสือด้วย อันนี้ก็แล้วแต่ความชอบ
5. อย่าให้สิ่งใดมารบกวนการอ่าน เวลาอ่านหนังสือ เราควรกำหนดว่า เวลานี้เราจะตั้งใจ และไม่ปล่อยให้อะไรมาขัดโดยไม่จำเป็น เช่น อาจจะปิดเสียงโทรศัพท์มือถือ เป็นต้น คนอื่นก็จะไม่มารบกวนโดยไม่จำเป็น การได้ทำงานหรืออ่านหนังสือเป็นช่วงเวลาติดต่อกันอย่างนี้มีประสิทธิภาพกว่าการอ่านที่ถูกหยุดด้วยสิ่งต่างๆ
6. พักผ่อนสมองบ้าง เมื่ออ่านหนังสือไปนานๆ เราก็จะเริ่มล้า ทั้งสมองที่ต้องคิด ทั้งร่างกายที่ไม่ได้ขยับ ทั้งสายตาที่ต้องจ้องอยู่นาน เราก็ควรกำหนดเวลาพัก อันนี้ก็แล้วแต่คนชอบ อาจจะพักอ่านหนังสือทุกๆ ชั่วโมงหรือ 2 ชั่วโมง โดยออกไปเดินยืดเส้นยืดสาย ดื่มน้ำ ทานขนม หรือไปมองต้นไม้เขียวๆ เวลาพักก็ต้องกำหนดด้วยว่า 5 นาที หรือ 15 นาที เป็นต้น
7. ชอบขีดเส้นหรือเน้นข้อความที่สำคัญในหนังสือโดยไม่หวงหนังสือ ว่าจะดูเลอะเทอะเลย เพราะชอบเวลากลับมาอ่านทวน เราก็จะรู้ว่าจุดไหนเป็นข้อมูลสำคัญ เรายังสามารถใช้ทบทวนก่อนสอบได้ด้วย สำหรับคนที่ชอบหนังสือใหม่ๆ เกลี้ยงๆ ก็อาจจะต้องหาสมุดกับปากกามาจดสิ่งที่สำคัญจากหนังสือนั้นๆ เพื่อการอ่านทบทวนได้
8. พยายามจัดเวลาอ่านหนังสือในช่วงเวลาที่เราตื่นตัวที่สุด อันนี้แตกต่างกันไป บางคนจะจำได้ดีถ้าอ่านตอนเช้า บางคนเป็นตอนเย็น ก็ต้องสังเกตตัวเองดู ถ้าทราบแล้วอาจจะกำหนดเป็นเวลาประจำทุกวัน เช่น ทุกวันเวลา 2 ทุ่ม - 5 ทุ่ม เราต้องอ่านตำราทบทวนที่เรียนมา เป็นต้น